TOP จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม SECRETS

Top จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม Secrets

Top จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม Secrets

Blog Article

“ชื่อที่ตั้งให้ผู้หญิงก็ควรเป็นชื่อที่แสดงออกถึงความเป็นผู้หญิง ไม่ควรใช้ชื่อลักษณะเป็นชาย ส่วนผู้ชายก็ควรมีชื่อที่ตรงกับเพศสภาพ การแสดงต่าง ๆ ก็ควรใช้นักแสดงที่ตรงกับเพศกำเนิดมาเล่นเป็นตัวพระตัวนาง ไม่ควรใช้ผู้ชายเล่นเป็นตัวนาง หรือผู้หญิงเล่นเป็นตัวพระก็ไม่ได้ มันจึงเป็นการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ทำให้คนข้ามเพศที่เคยมีบทบาทในพื้นที่การแสดง ก็ต้องปรับเปลี่ยนไปทำงานอย่างอื่น หากอยู่ในท้องถิ่นชนบทก็ยังพอแสดงได้ แต่ก็อยู่แบบตามมีตามเกิดเพราะรัฐไม่ได้สนับสนุน”

Used by Google AdSense for experimenting with advertisement performance throughout Internet sites making use of their companies

หาก พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ผ่านมติสภาฯ และการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ ในทุกวาระ และถูกบังคับใช้เป็นกฎหมายในไทย "สมรสเท่าเทียม" จะมีประโยชน์ในการมอบสิทธิและความเท่าเทียมให้แก่ทุกเพศ เนื่องจากปัจจุบันกฎหมายยังยอมรับการสมรสเฉพาะแค่เพศชาย-หญิง เท่านั้น แต่หากมีการผ่าน พ.

นฤพนธ์ กล่าว “ลัทธิอาณานิคมทำให้วิธีคิดเกี่ยวกับเพศมีเพียงชายกับหญิงเท่านั้น ทำให้ธรรมเนียมเก่าที่เขาเคยเปิดรับ [ผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ] กลายเป็นเรื่องที่ผิดกฎหมายไป”

นอกจาก พ.ร.บ. สมรสเท่าเทียมจะเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศสามารถสมรสกันได้ตามกฎหมายแล้ว ยังมาพร้อมสิทธิในการสมรสที่ครอบคลุมทุกมิติ ดังนี้

สมรสเท่าเทียมของรัฐบาล-ก้าวไกล-ภาคประชาชน ต่างกันอย่างไร

การรับบุตรบุญธรรมร่วมกันเป็นสิทธิที่ได้มาโดยอัตโนมัติอยู่แล้วมาแต่เดิมสำหรับบุคคลที่เป็นคู่สมรสกัน ดังนั้นเมื่อบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศเป็นคู่สมรสกันตามกฎหมายได้แล้ว บทบัญญัติในส่วนการรับบุตรบุญธรรมจึงเปิดช่องให้เข้ามามีสิทธินี้โดยไม่ต้องสงสัย กล่าวได้ว่า ต่อไปนี้คู่สมรสในครอบครัวไม่ว่าจะเป็นเพศใด ย่อมใช้สิทธิรับบุตรบุญธรรมร่วมกันได้อย่างเสมอภาค

ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... เสนอโดยกระทรวงยุติธรรม ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตรวจพิจารณาร่าง พ.ร.บ. แล้ว

วุฒิสภาผ่านร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมแล้ว ส่งไทยเป็นชาติแรกในอาเซียนมี กม. แต่งงานบุคคลเพศเดียวกัน

ดร.นฤพนธ์ ยังอธิบายเพิ่มเติมด้วยว่า การแต่งงานของคนในสมัยก่อน ลูกสาวคนโตคือผู้ได้รับมรดกจากพ่อแม่ ต้องครองเรือนอยู่ในครอบครัวพร้อมกับสร้างทายาท ขณะที่ลูกชายจะต้องออกไปอยู่บ้านผู้หญิง เพื่อไปเป็นลูกเขย และเป็นแรงงานให้กับบ้านพ่อตาแม่ยาย

สิทธิในการแต่งงานที่เท่าเทียม นำมาซึ่งสิทธิที่เท่าเทียมกันหากคู่รักใช้ชีวิตมาจนจุดแยกจากกันด้วย โดยจะมีสิทธิในการฟ้องหย่า สิทธิในการฟ้องร้องอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น สิทธิการเลี้ยงดูบุตร การเรียกค่าเลี้ยงชีพตามแต่กรณีการหย่าร้างที่เกิดขึ้น และสิทธิในสินสมรส

และมีส่วนสำคัญเคาะเลือกชื่อผู้ว่าฯ แบงก์ชาติคนใหม่

ส.ส. ข้ามเพศคนแรกของรัฐสภาไทย กับการแต่งกายตามเพศสภาพ และก้าวแรกของความเป็นมนุษย์เท่ากัน

นอกเหนือจากสิทธิการหมั้นระหว่างบุคคลแล้ว ร่างพ.ร.บ.ฉบับดังกล่าวยังได้ระบุเงื่อนไขการ จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม ‘สมรส’ เอาไว้ว่า “การสมรสจะกระทำได้ต่อเมื่อบุคคลสองคนยินยอมเป็นคู่สมรสกันและต้องแสดงการยินยอมนั้นให้ปรากฏโดยเปิดเผยต่อหน้านายทะเบียนและให้นายทะเบียนบันทึกความยินยอมนั้นไว้ด้วย” โดยสถานะหลังจดทะเบียนสมรสแล้วจะกลายเป็น “คู่สมรส” ทางกฎหมาย

Report this page